วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558
วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันโรค
ระบบภูมิคุ้มกัน เป็นระบบของร่างกายที่ตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้าสู่ร่างกาย หรือเกิดขึ้นในร่างกาย เพื่อให้พ้นจากอันตราย หรือโทษที่เกิดขึ้นจากสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ถ้ามีน้อยไปหรือมากไปก็จะมีผลเสีย คือ ก่อให้เกิดโรคต่างๆได้
ภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน (Immune deficiency disorders)
ภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน หมายถึง ความผิดปกติที่เกิดขึ้นจากภาวะบกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น อ่านต่อ
โรคบางชนิดเมื่อเคยเป็นครั้งหนึ่งและรักษาหายแล้ว ร่างกายจะมีภูมิต้านทานต่อโรคนั้นทำให้ไม่เป็นโรคนั้นอีกตลอดไป เช่น โรคอีสุกอีใส เป็นต้น ทั้งนี้ก็เป็นเพราะว่า เซลล์ที ในร่างกายจะจดจำเชื้อโรคอีสุกอีใสนี้ได้ จึงกระตุ่นให้เซลล์บีพัฒนาเป็นเซลล์พลาสมาเพื่อสร้างแอนติบอดีไปจัดการกับแอนติเจนเชื้อโรคอีสุกอีใสนั้น ภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้เรียกว่า ภูมิคุ้มกันก่อเอง และจากหลักการของระบบภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติของร่างกายนี้เอง ที่นำไปสู่แนวความคิด การฉีดวัคซีน เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน โดยใช้เชื้อโรคที่ตายแล้วหรืออ่อนฤทธิ์ลง ทำให้เป็นวัคซีนแล้วฉีดเข้าเข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดภูมิต้านทานขึ้น อ่านต่อ
การป้องกันและกำจัดเชื้อโรคของร่างกาย
การป้องกันและกำจัดเชื้อโรคของร่างกาย
โดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา มีกลไกในการป้องกันและกำจัดเชื้อโรคอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเปรียบเสมือนกับกำแพงเมือง ด่าน หรือป้อมปราการที่สร้างไว้สำหรับเป็นเครื่องกีดขว้าง สกัดกั้นหรือดักจับทำลายเชื้อโรค เพื่อไม่ให้เข้าไปทำอันตรายเซลล์ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ทำหน้าที่สำคัญๆ ภายในร่างกายจนเกิดเป็นโรคร้ายแรงได้ ด่านหรืออวัยวะที่ช่วยป้องกันและกำจัดเชื้อโรคโดยอัตโนมัตินั้นมีอยู่ทั้งหมด 3 ด่านด้วยกันคือ อ่านต่อ
|
กลไกการรักษาดุลยภาพ
กลไกการรักษาดุลยภาพ
การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต
1. การควบคุมภาวะกรด – ด่างด้วยวิธีทางเคมี (chemical regulation of acid – base balane)
หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บัฟเฟอริง (buffering) ระบบบัฟเฟอร์ (บัฟเฟอร์คือสารละลายกรดอ่อนหรือด่างอ่อนซึ่งสามารถลดการเปลี่ยนแปลงของ pH ในภาวะที่ได้รับกรดหรือด่างได้ ทำให้ pH เปลี่ยนแปลงไม่มาก เหมือนกับที่พบในการเติมกรดหรือด่างลงไปในน้ำเปล่า) จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด – ด่างของร่างกายไม่ให้รวดเร็วเกินไปกรด – เบส บัฟเฟอร์ ประกอบด้วยกรดอ่อนและด่างอ่อน เป็นคู่ๆ ซึ่งจะ แตกตัว(Ionized) ได้เกลือของกรด หรือด่างอย่างเดียวกัน อ่านต่อ
การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต
1. การควบคุมภาวะกรด – ด่างด้วยวิธีทางเคมี (chemical regulation of acid – base balane)
หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บัฟเฟอริง (buffering) ระบบบัฟเฟอร์ (บัฟเฟอร์คือสารละลายกรดอ่อนหรือด่างอ่อนซึ่งสามารถลดการเปลี่ยนแปลงของ pH ในภาวะที่ได้รับกรดหรือด่างได้ ทำให้ pH เปลี่ยนแปลงไม่มาก เหมือนกับที่พบในการเติมกรดหรือด่างลงไปในน้ำเปล่า) จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด – ด่างของร่างกายไม่ให้รวดเร็วเกินไปกรด – เบส บัฟเฟอร์ ประกอบด้วยกรดอ่อนและด่างอ่อน เป็นคู่ๆ ซึ่งจะ แตกตัว(Ionized) ได้เกลือของกรด หรือด่างอย่างเดียวกัน อ่านต่อ
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีการรับสารจากภายนอก เช่น แร่งธาตุ น้ำ และอาหาร เข้าสู่เซลล์ เป็นต้น ในขณะเดียวกันเซลล์ก็จะกำจัดสารส่วนเกินหรือของเสียออกสู้ภายนอกด้วย เพื่อปรับหรือรักษาสภาพภายในเซลล์ให้เหมาะสมทำให้สามารถมีชีวิตได้ตามปกติ
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีเยื่อหุ้มเซลล์ ที่ทำหน้าที่ลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์จัดเป็นเยื่อเลือกผ่าน คือ ยอมให้สารบางอย่างผ่านได้ แต่สารบางอย่างผ่านได้ยากหรือผ่านไม่ได้เลย อ่านต่อ |
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ จึงต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการมองเห็น คือ กล้องจุลทรรศน์ การศึกษาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการพัฒนาของกล้องจุลทรรศน์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จนสามารถทำให้มองเห็นส่วนประกอบต่างๆภายในเซลล์ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันการศึกษาเรื่องเซลล์ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว จึงสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และทางการแพทย์ อ่านต่อ
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)